วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2556
Stop-motion Clay Animation
Stop-motion Clay Animation
เป็นอนิเมชั่นแบบ Stop-motion Clay Animation เพราะดูจากภาพที่ใช้ในการทำ
วิดิโอ
Computer Animation
Computer Animation
เป็นอนิเมชั่นแบบ Computer Animation เพราะดูจากการภาพ ที่ใช้ทำโดยกราฟฟิก
Hand Drawn Animated
Hand Drawn Animated
เป็นอนิเมชั่นแบบ Hand Drawn Animated เพราะเป็นการวาดภาพ ติดต่อกัน
จนเป็นเนื้อเรื่องขึ้นมา
จนเป็นเนื้อเรื่องขึ้นมา
วันเสาร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2556
ประวัติส่วนตัว
ชื่อ จุฑารัตน์ บุณยกิติยาการ ชื่อเล่นโฟม อายุ 15 ปี
เกิดวันที่ 2 ก.ย. 40
บ้านเลขที่ 144/628 หมู่ 6 ต.คลองมะเดื่อ อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร
ชอบ สีเขียว
GPS
GPS คือ ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นโลกผ่านดาวเทียม Globle Positioning System โดยพิกัดบนพื้นโลกที่ได้ จะมาจากการคำนวณสัญญาณนาฬิกาที่ส่งจากดาวเทียม มาที่เครื่องรับสัญญาณGPS ส่วนดาวเทียมที่ใช้สำหรับระบบ GPS ที่สามารถใช้ระบุตำแหน่งได้นั้น จะถูกออกแบบมาโดยเฉพาะให้โครจรอบโลก เพื่อส่งข้อมูลที่จะนำไปใช้คำนวณพิกัดออกมาตลอดเวลา การสะท้อนกลับของคลื่นไมโครเวฟ ระหว่างดาวเทียมและพื้นผิวโลก แน่นอนเมื่อเรารู้ตำแหน่งบนพื้นโลก เราก็สามารถระบุตำแหน่งของดาวเทียมบนอวกาศได้ ดังนั้นในทางกลับกันดาวเทียมก็สามารถระบุตำแหน่งต่างๆ บนพื้นโลกได้เช่นกัน เมื่อมันโคจรผ่านตำแหน่งนั้น
ระบบGPSจะทำงานได้นั้น ต้องประกอบไปด้วย 3 ส่วนหลักๆคือ
1. ส่วนอวกาศ หรือดาวเทียม GPS : จะมีดาวเทียมที่ใช้ดังนี้
- NAVSTAR : จากของประเทศอเมริกา มีดาวเทียมทั้งหมด 28 ดวง จะใช้จริงแค่ 24 ดวง ไว้สำรอง 4 ดวง รัศมีวงโคจร12,600 ไมล์ โคจรอบโลกที่ความเร็ว 12ชั่วโมงต่อ 1 รอบ
- Galileo : ถูกพัฒนาโดย ESA หรือ European Satellite Agency ร่วมกับประเทศจีน อิสราเอล อินเดีย โมร็อกโก ซาอุดิอาระเบีย เกาหลีใต้ และยูเครน รวมจำนวน 27 ดวง
- GLONASS : (GLObal NAvigation Satellite System) ที่พัฒนาโดยรัสเซีย
- Beidou : เป็นดาวเทียม GPS ที่กำลังพัฒนาโดยประเทศจีน
1. ส่วนอวกาศ หรือดาวเทียม GPS : จะมีดาวเทียมที่ใช้ดังนี้
- NAVSTAR : จากของประเทศอเมริกา มีดาวเทียมทั้งหมด 28 ดวง จะใช้จริงแค่ 24 ดวง ไว้สำรอง 4 ดวง รัศมีวงโคจร12,600 ไมล์ โคจรอบโลกที่ความเร็ว 12ชั่วโมงต่อ 1 รอบ
- Galileo : ถูกพัฒนาโดย ESA หรือ European Satellite Agency ร่วมกับประเทศจีน อิสราเอล อินเดีย โมร็อกโก ซาอุดิอาระเบีย เกาหลีใต้ และยูเครน รวมจำนวน 27 ดวง
- GLONASS : (GLObal NAvigation Satellite System) ที่พัฒนาโดยรัสเซีย
- Beidou : เป็นดาวเทียม GPS ที่กำลังพัฒนาโดยประเทศจีน
2. ส่วนภาคพื้นดิน :ทำหน้าที่คอยดูแลและควบคุมการทำงานของดาวเทียม รวมถึงวงโคจรของดาวเทียม และให้ค่าสัญญาณนาฬิกาที่ถูกต้อง กับดาวเทียม GPS
3. ส่วนผู้ใช้งานหรือครื่องรับสัญญาณ GPS : ผู้ใช้งานสามารถรับสัญญาณ GPS ได้จากอุปกรณ์หลายๆอย่าง เช่น โทรศัพท์มือถือที่รับสัญญาณ GPS ได้, GPS Receiver (ต่อกับ computer, มือถือ) หรือ เครื่อง PNA (Personal Navigation Assistant) หรือเรียกง่ายๆว่าGPS Navigator, GPS ติดรถ หรือ Car GPS
3. ส่วนผู้ใช้งานหรือครื่องรับสัญญาณ GPS : ผู้ใช้งานสามารถรับสัญญาณ GPS ได้จากอุปกรณ์หลายๆอย่าง เช่น โทรศัพท์มือถือที่รับสัญญาณ GPS ได้, GPS Receiver (ต่อกับ computer, มือถือ) หรือ เครื่อง PNA (Personal Navigation Assistant) หรือเรียกง่ายๆว่าGPS Navigator, GPS ติดรถ หรือ Car GPS
จีพีเอสที่เราใช้อยู่หรือที่จะเลือกซื้อจะเลือกอย่างไรดี
จีพีเอสเป็นเครื่องมือที่อาศัย 2 ส่วนประกอบกัน คือฮาร์ดแวร์ และ ซอฟแวร์ การเลือกซื้อก็ไม่ยากมาก คือถ้าจำเป็นใช้ฟังก์ชั่นแค่ไหนก็ซื้อมาแค่นั้นไม่ต้องซื้อเผื่อมากเพราะยิ่งฟังก์ชั่นมากก็ยิ่งราคาแพงด้วย บางคนเอารุ่นท็อปของยี่ห้อนั้น ๆ แต่ใช้แค่ดูแผนที่หรือให้แค่นำทาง ส่วนทีวี หรือ mp3 และอื่น ๆ ที่ติดมาให้ไม่เคยได้ใช้แต่ผู้ขายบอกว่ามีทุกอย่างก็เอาซะหน่อย เปลืองเปล่า ๆ ไม่ได้มีประโยชน์อะไรเลย ถ้าจะมาดูในรายละเอียดแบบด้านลึกเรามาพิจารณาต่อไปคือในด้าน ฮาร์ดแวร์ เริ่มจาก CPU เป็นอันดับแรกๆที่ผู้ใช้ควรดูซึ่งหลักง่ายๆคือ ยิ่ง CPU เยอะก็ยิ่งดี เหมือนคอมพิวเตอร์ที่ CPU สูงกว่าก็สามารถประมวลผลและได้เร็วกว่า ต่อจากนั้นดูที่ Chipset สำหรับปัจจุบัน GPS มีการใช้ Chipset รับสัญญาณจากค่าย SiRF และ MTK เป็นหลัก อันนี้อยู่ที่ความชอบของผู้ใช้เพราะว่าทั้ง 2 ค่ายมีความสามารถใกล้เคียงกัน ต่อมาให้ดูที่ Flash หรือเรียกกันว่า Memory ก็เหมือนกับกล้องถ่ายรูปหรือโทรศัพท์นั้นเองคือถ้าต้องการเก็บขอมูลมากๆ เช่น ซอฟแวร์แผนที่ ภาพ วิดีโอ หรือ เพลง ก็ต้องเลือกความจุที่มากหน่อยโดยเริ่มจากความจุ 128Mb จนถึง 4Gb กันเลยทีเดียว อนาคตคงจะมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆเหมือนเครื่องโทรศัพท์ และเครื่องเล่น MP4 และที่สำคัญอีกตัวก็คือ Ram ยิ่งมีค่าตัวเลขมากก็ยิ่งดี สมัยนี้มีการใส่ Ram ในตัวเครื่องตั้งแต่ 64 Mb ขึ้นไปแรมที่เยอะกว่าก็จะมีข้อได้เปรียบเช่นในการคำนวณเส้นทางที่ไกล Ram ยังมีอยู่ 2 ลักษณะเหมือนคอมพิวเตอร์คือ SD และ DDR ซึ่ง Ram ทึ่ควรเลือกใช้ควรเป็นแบบ DDR สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วกว่า SD ผู้ซื้อต้องระวังผู้ขายบางเจ้าที่ไม่รู้จริงหรืออ้างว่าใช้ Ram ที่มากแต่ความจริงเป็นRamแบบ SD Ram ซึ่งความเร็วในการทำงานจะเป็นเพียงครึ่งเดียวของRamแบบ DDR เช่น Ram128SD จะช้ากว่า Ram64DDR ในส่วนของซอฟแวร์ ก็คือโปรแกรมที่แสดงการใช้งานหน้าจอและเป็นระบบของเครื่อง ก็ขึ้นอยู่กับการใช้งานของเราอีกเหมือนเดิม ชอบแบบไหนเอาแบบนั้น แต่ขอสำคัญคือเลือกที่สามารถอัพเกรดซอฟแวร์ให้ทันสมัยได้เสมอ ข้อควรระวังเครื่องที่เป็นของมาจากประเทศจีนเดี๋ยวนี้มีราคาถูก แต่บางทีไม่สามารถอัพเกรดซอฟแวร์ได้หรืออัพได้แต่หาโปรแกรมอัพไม่ได้ พอบางทีอัพแล้วใช้ไม่ได้ บอกได้คำเดียวเลยว่าเสียตังค์ฟรีทันที แต่บางเครื่องถ้าใช้ได้ทุกฟังก์ชันก็ถือว่าได้ของดีราคาถูกครับ
3G
ระบบ 3G คืออะไร ความเร็ว 3G
ระบบ 3G ( UMTS ) นั้นคือการนำเอาข้อดีของ ระบบ CDMA มาปรับใช้กับ GSM เรียกว่า W-CDMA ซึ่งถูกพัฒนาโดยบริษัท NTT DoCoMo ของญี่ปุ่นสำหรับเมืองไทยนั้น ระบบ 3G จะเป็น เทคโนโลยีแบบ HSPA ซึ่งแยกย่อยได้เป็น HSDPA , HSUPA และ HSPA+HSDPAนั้นจะสามารถ รับส่งข้อมูลได้สูงสุดที่ Download 14.4 Mbps / Upload 384 Kbps. ( ปัจจุบันผู้ให้บริการทั่วโลกยังให้บริการอยู่ที่ Download 7.2Mbps เท่านั้น )
HSUPAจะเหมือนกับ HSDPA ทุกอย่างแต่การ Upload ข้อมูลจะวิ่งที่ความเร็วสูงสุด 5.76 Mbps
HSPA+ เป็นระบบในอนาคต การ Download ข้อมูลจะอยู่ที่ 42 Mbps / Upload 22 Mbpsสำหรับในเมืองไทยนั้น ระบบ 3G ( HSPA ) ที่ Operator AIS หรือ DTAC นำมาใช้จะเป็น HSDPA โดยการ Download จะอยู่ที่ 7.2Mbps ซึ่งน่าจะได้ใช้กันในไม่ช้า
ข้อควรระวังในการเลือกซื้อ AirCard แบบที่รองรับ 3G คลื่นความถี่ 3G ที่ใช้กันทั่วโลก จะใช้อยู่ 3 ความถี่ที่เป็นมาตราฐานคือ 850 , 1900 และ 2100 ซึ่งเมืองไทยจะแบ่งเป็นดังนี้
คลื่นความถี่ ( band ) 850 จะถูกพัฒนาโดย Dtac และ True
คลื่นความถี่ ( band ) 900 จะถูกพัฒนาโดย AIS (ใช้ชั่วคราวที่เชียงใหม่ และ Central World)
คลื่นความถี่ ( band ) 2100 กำลังรอ กทช. ทำการประมูลเพื่อจัดสรรคลื่นความถี่
คลื่นความถี่ ( band ) 1900 และ 2100 จะถูกพัฒนาโดย TOTดังนั้นการเลือกซื้อ AirCard , Router หรือ โทรศัพท์มือถือ และต้องการให้รอบรับ 3G ควร check ให้ดีก่อนว่าสามารถรองรับได้ทั้ง 3 คลื่นหรือเพียงบางคลื่นเท่านั้น
ระบบ 3G ( UMTS ) นั้นคือการนำเอาข้อดีของ ระบบ CDMA มาปรับใช้กับ GSM เรียกว่า W-CDMA ซึ่งถูกพัฒนาโดยบริษัท NTT DoCoMo ของญี่ปุ่นสำหรับเมืองไทยนั้น ระบบ 3G จะเป็น เทคโนโลยีแบบ HSPA ซึ่งแยกย่อยได้เป็น HSDPA , HSUPA และ HSPA+HSDPAนั้นจะสามารถ รับส่งข้อมูลได้สูงสุดที่ Download 14.4 Mbps / Upload 384 Kbps. ( ปัจจุบันผู้ให้บริการทั่วโลกยังให้บริการอยู่ที่ Download 7.2Mbps เท่านั้น )
HSUPAจะเหมือนกับ HSDPA ทุกอย่างแต่การ Upload ข้อมูลจะวิ่งที่ความเร็วสูงสุด 5.76 Mbps
HSPA+ เป็นระบบในอนาคต การ Download ข้อมูลจะอยู่ที่ 42 Mbps / Upload 22 Mbpsสำหรับในเมืองไทยนั้น ระบบ 3G ( HSPA ) ที่ Operator AIS หรือ DTAC นำมาใช้จะเป็น HSDPA โดยการ Download จะอยู่ที่ 7.2Mbps ซึ่งน่าจะได้ใช้กันในไม่ช้า
ข้อควรระวังในการเลือกซื้อ AirCard แบบที่รองรับ 3G คลื่นความถี่ 3G ที่ใช้กันทั่วโลก จะใช้อยู่ 3 ความถี่ที่เป็นมาตราฐานคือ 850 , 1900 และ 2100 ซึ่งเมืองไทยจะแบ่งเป็นดังนี้
คลื่นความถี่ ( band ) 850 จะถูกพัฒนาโดย Dtac และ True
คลื่นความถี่ ( band ) 900 จะถูกพัฒนาโดย AIS (ใช้ชั่วคราวที่เชียงใหม่ และ Central World)
คลื่นความถี่ ( band ) 2100 กำลังรอ กทช. ทำการประมูลเพื่อจัดสรรคลื่นความถี่
คลื่นความถี่ ( band ) 1900 และ 2100 จะถูกพัฒนาโดย TOTดังนั้นการเลือกซื้อ AirCard , Router หรือ โทรศัพท์มือถือ และต้องการให้รอบรับ 3G ควร check ให้ดีก่อนว่าสามารถรองรับได้ทั้ง 3 คลื่นหรือเพียงบางคลื่นเท่านั้น
โทรศัพท์ ระบบ 3G คืออะไร..??
ระบบ 3G คือ ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคที่สาม (Third Generation of Mobile Telephone - 3G) ซึ่งมี สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU (International Telecommunication Union) ซึ่งเป็นองค์กรชำนาญพิเศษแห่งสหประชาชาติ ทำหน้าที่ในการให้คำแนะนำตลอดจนวางหลักเกณฑ์ในบริหาร และการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมให้กับประเทศต่างๆที่เป็นสมาชิกทั่วโลก โดยมีแนวทางในการวางหลักเกณฑ์ทางการบริหารทรัพยากรด้านโทรคมนาคมของแต่ละประเทศสมาชิก เพื่อให้เป็นไปแนวทางเดียวกัน
ทั้งนี้ระบบ 3G เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาต่อเนื่องมาจากระบบยุคที่ 2 และ 2.5 ซึ่งเป็นยุคที่มีการให้บริการระบบเสียง และ การส่งข้อมูลในขั้นต้น ซึ่งยังมีข้อจำกัดอยู่มากในด้านความรวดเร็วและคุณภาพของข้อมูลที่ทำการส่ง โดยการพัฒนาของระบบ 3G ทำให้เกิดการใช้บริการแบบมัลติมีเดีย และส่งผ่านข้อมูลในระบบไร้สายด้วยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น ทำให้มีการรับส่งข้อมูลที่มากกว่า ทำให้ประสิทธิภาพในการรับส่งข้อมูลตลอดจนแอพพลิเคชั่นต่างๆดีขึ้น รวดเร็วมากขึ้น พร้อมทั้งสามารถใช้บริการมัลติมีเดียได้สมบูรณ์แบบมากขึ้น โดยผ่านอุปกรณ์ที่ผสมผสาน การนำเสนอข้อมูล และเทคโนโลยีในปัจจุบันเข้าด้วยกัน เช่น PDA (Personal Digital Assistant : เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็กที่ช่วยอำนวย ความสะดวกในการจดบันทึก, เก็บข้อมูล, เตือนเวลานัดหมาย หรือ จัดการงานต่างๆ ) Walkman กล้องถ่ายรูป โทรศัพท์มือถือ และ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น
เทคโนโลยีของโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G
3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 ที่ใช้เทคโนโลยีมาตรฐาน IMT 2000 ที่มีรายละเอียดพอสังเขปดังนี้
- ต้องมีแพลทฟอร์ม(Platform) สำหรับการหลอมรวมของบริการต่างๆ อาทิ เช่น กิจการประจำที่ (Fixed Service) กิจการเคลื่อนที่ (Mobile Service) บริการสื่อสารเสียง ข้อมูล อินเตอร์เน็ต และมัลติมีเดีย (Multimedia) เป็นไปในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ สามารถถ่ายเท ส่งต่อข้อมูลดิจิตอลไปยังอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทต่างๆ ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้
- ความสามารถในการใช้โครงข่ายทั่วโลก(Global Roaming) กล่าวคือ ผู้บริโภคสามารถถืออุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้ได้ทั่วโลก โดยไม่ต้องเปลี่ยนเครื่อง
- บริการที่ไม่ขาดตอน (Seemless Delivery Service) กล่าวคือ การใช้งานโดยไม่รู้สึกถึงการเปลี่ยนเซลล์ไซค์(Cell Site)หรือสถานีถ่ายทอดในแต่ละพื้นที่ เพราะคำว่า Seemless หมายถึงการไร้รอยตะเข็บ
- อัตราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูล (Transmission Rate) ในมาตรฐาน IMT 2000 กำหนดไว้ดังนี้
- ในสภาวะอยู่กับที่หรือขณะเดินมีความเร็วอย่างน้อยที่สุด 2 เมกะบิต/วินาที (2 Mb/s)
- ในสภาวะเคลื่อนที่โดยยานพาหนะมีความเร็วอย่างน้อยที่สุด 384 กิโลบิต (384 kb/s)
- ในทุกสภาวะมีอัตราความเร็วอย่างมากที่สุด 14.4 เมกะบิต (14.4 Mb/s)
4G
4G คืออะไร
ช่วงนี้ประเทศไทยเพิ่งได้ทำการประมูล 3G กันเสร็จไปมาดๆ ไม่นานมานี้ แต่จะเริ่มใช้จริงยังไม่ทราบได้ว่าเมื่อไหร่เหมือนกันนะครับ พร้อมทั้งในโลก Social network ก็มีหลายคนบ่นว่าทำไมเมืองไทยไม่มี 4G สะที ประเทศเพื่อนบ้านเรา อย่างประเทศลาว กัมพูชา เวียดนาม เค้ามี 4G ใช้กันหมดแล้ว จะเป็นเพราะว่าเรื่องประมูล 3G ของเรามันล่าช้ากว่าก็อาจจะไม่ถูกทั้งหมดสะทีเดียว และมีอะไรมากกว่านั้นล่ะ เรามาลองดูกันครับ ผมจะเขียนจากที่ผมอ่านและรู้มา แล้วนำมาวิเคราะห์เองบ้าง เพื่อเป็นการบอกเล่าให้เข้าใจกันในส่วนนึงนะครับ
อย่างแรกเลยเรามาทำความเข้าใจกันก่อนว่า 4G คืออะไร (หลายคนอาจจะรู้มาแล้วก็ไม่เป็นไรเน๊อะ)
4G หรือเทคโนโลยี LTE (Long Term Evolution) นั้นเป็นเทคโนโลยีสื่อสารไร้สายความเร็วสูงสุดในตอนนี้ ที่ถูกพัฒนาต่อจากยุค 1G 2G 3G ที่เราใช้กันอยู่นั่นเอง โดยสามารถส่งความเร็วอินเตอร์เน็ตได้สูงสุด 100 Mbps หรือพูดให้เข้าใจง่ายๆคือดาวโหลดได้สูงสุด 10000 kb/s กันเลยทีเดียว ส่วนอัพโหลดจะอยู่ที่ไม่เกิน 50 Mbps แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นความเร็วจะขึ้นอยู่กับ user ที่ใช้งานร่วมกับคุณในพื้นที่นั้นๆ อุปกรณ์ที่รองรับ และรวมไปถึงคลื่นความถี่ที่ผู้ให้บริการปล่อยออกมา แน่นอนล่ะว่ามันไม่เท่ากัน …ด้วยความเร็วที่มากขนาดนี้สำหรับการสื่อสารไร้สาย แน่นอนว่ามันจะช่วยในเรื่องของความสะดวกสบายและทำให้ชีวิตของเราดีขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งโลกของเราทุกวันนี้ไม่ว่าใครก็มีมือถือ smartphone กันแทบทั้งนั้นแล้ว
จุดเด่นของ 4G
- แน่นอนเลยมันช่วยให้เราสะดวกมากขึ้น เข้าอินเตอร์เน็ตจากมือถือ Smartphone ได้ไวมาก ไม่ว่าจะเป็น video call ดู media ต่างๆได้ง่ายและไม่มีสะดุด เพราะด้วยความเร็วที่สูงของมันนั่นเอง
- สามารถทำเป็น hotspot แชร์ไปยังอุปกรณ์ที่รองรับ wifi ได้ และสามารถทำได้ดีกว่าตัว 3G
- ค่าใช้จ่ายถูกลง อันนี้อาจเป็นผลพ่วงมาจากที่ 4G นั้นจะมาในรูปแบบ Data อย่างเดียวทำให้ค่าใช้จ่ายน่าจะถูกลงกว่า 3G ที่ส่วนใหญ่จะขายร่วมกับ voice หรือบริการโทรนั่นเอง
จุดด้อยของ 4G
- อุปกรณที่รองรับ 4G แน่นอนว่ามันมีน้อยในตลาดตอนนี้ และบางรุ่นประเทศไทยก็ไม่ได้นำเข้ามาเพราะว่ายังไม่มี 4G นั่นเอง ฮ่าๆๆ แต่ก็ยังพอมีอุปกรณ์ที่รองรับได้ที่เรารู้จักกัน นั่นก็คือ iPhone5 iPad 4th gen และมือถือ Smartphone รุ่น hi-end ต่างๆ ที่ราคาค่อนข้างสูง และหลายคนก็คงจะลังเลในการซื้อกันหน่อยล่ะ
- การใช้งานด้าน voice อย่างที่รู้กันว่า 4G นั่นจะเน้นทางด้านการรับ-ส่ง Data กันมากกว่า หรือในปัจจุบันอาจจะเรียกว่าการใช้งานด้าน voice หรือโทรเข้า-ออกนั้นมันแทบจะไม่มีอุปกรณ์รองรับเลย อุปกรณ์รองรับ 4G ว่าหายากแล้ว อุปกรณ์ที่รองรับด้าน voice และ Data ของ 4Gไปพร้อมๆกันก็หายากมากๆยิ่งกว่า แถมอยู่ในช่วงเริ่มต้นในการพัฒนา หรือที่เราเรียกกันว่า Circuit Switch Fall Back คือการเปลี่ยนจากระบบ LTE ไปใช้งาน 3G ในการโทรเข้า-ออก
ทำไมประเทศไทยไม่มี 4G ใช้สะที ?
พอเห็นจุดเด่นและจุดด้อยของ 4G ไปแล้วนั้น หลายๆคนก็อาจจะมองออกแล้วว่าทำไมประเทศไทยยังไม่มี 4G ใช้กันสักที แล้วทำไมประเทศเพื่อนบ้านของเราไปใช้ 4G กันได้แล้ว เท่าที่ผมรู้มาบ้าง ก็คืออย่างประเทศลาวนั้น ประเทศเค้าไม่มีการใช้งานอินเตอร์เน็ตแบบใช้สาย หรือ ADSL แบบบ้านเรา ทำให้ประเทศของเค้านั้นต้องพึ่งการพัฒนาแบบไร้สายแทน จึงทำให้ลาวเป็นประเทศแรกๆในเอเชียที่ได้ใช้ 3G ก่อนใคร และทุกวันนี้ก็มี 4G ใช้กันแล้ว เหตุผลง่ายๆและพอจะเข้าใจได้คงเป็นเช่นนี้ครับ
ปัญหาอย่างอื่นที่พอจะนึกได้ ก็อาจจะเป็นการใช้งานทางด้าน Data อย่างเดียวของ 4G ลองนึกดูถ้าคุณใช้งาน 4G อยู่แล้วอยากจะโทรหาเพื่อน ใช่ครับมันทำแบบนั้นตรงๆไม่ได้ เพราะเทคโนโลยี 4G มันยังไม่รองรับการใช้งานด้าน Voice เต็มรูปแบบ ซึ่งยังอยู่ในการพัฒนา อย่างที่ผมบอกไปในจุดด้อยคือเราต้องหาอุปกรณ์ที่รองรับการใช้งานแบบ Circuit Switch Fall Back หรือ VoLTE (Voice over LTE) เพื่อที่จะใช้งานสลับไปมาระหว่าง 4G ไป 3G ได้ เท่าที่เห็นก็น่าจะมี Samsung Galaxy S3 ที่ทำได้ในเวลานี้
พอพูดมาถึงตรงนี้บางคนอาจจะสงสัยว่าทำไม 4G มันโทรไม่ได้ เพราะอะไร ผมขออธิบายสั้นๆและเข้าใจง่ายนะครับ ก็คือว่าการใช้งาน 4G เวลามือถือของเราจับสัญญาณได้แล้วนั้น มันจะทำให้มือถือของคุณมี IP ติดเครื่องทันที แล้วจะทำการโยนระบบ circuit switch ที่ใช้เป็นช่องสัญญาณสำหรับการคุย (voice) ด้วยเสียงทิ้งไป ทำให้การโทรเข้า-ออก และรวมไปถึงการส่ง sms ก็ทำไม่ได้ด้วยเช่นเดียวกัน ถ้าอยากจะโทรก็คงต้องโทรผ่านอินเตอร์เน็ตแทน ถ้าถึงเวลานั้นจริงๆ การใช้งาน skype tango หรือแอพฯหลายๆตัวก็คงจะขายดีกันเลยทีเดียว ฮ่าๆๆ
จากที่ผมกล่าวมาทั้งหมดก็อาจจะเป็นส่วนนึงที่จะทำให้คุณรู้ว่าทำไมประเทศไทยถึงยังไม่ควรมี 4G ไปเลยสะทีเดียว เพราะด้วย 3G ที่มายังไม่สมบูรณ์ เราจึงไม่ควรข้ามไปใช้ 4G เลยโดยทันที ต่อให้มีความพร้อมในการผลิตแล้วก็ตาม ยังไงสะการใช้งาน 3G ถ้ายังวางรากฐานไม่แข็งแรง แล้วถ้าเกิดการใช้งาน 4G ล่มลงไป ทีนี้การใช้งานทางด้าน voice ก็คงแย่ลงไปด้วย ทั้งนี้ทั้งนั้นการใช้งาน 3G ก็ควรเป็นเรื่องที่ต้องมาก่อน และควรจะทำให้ดีมากๆด้วย ยังไงผมก็รู้สึกว่า 3G ก็ดูจะเป็นการใช้งานที่สมเหตุสมผลที่สุด เนื่องมาจากสามารถใช้งานได้ทั้ง Data และ Voice ไปพร้อมๆกันได้เลย โดยไม่ต้องสลับการใช้งานไป-มาให้เสียเวลาและยุ่งยาก และที่สำคัญไม่เปลืองแบตฯด้วย อย่าลืมว่าการใช้งาน Data แรงๆนั้น จะทำให้กินแบตฯเป็นอย่างมาก (แค่ 3G ก็กินแทบแย่แล้ว)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)